บทที่ 2 สร้างสรรค์งานดนตรี

ให้นักเรียนบอกหลักการขับร้องประสานเสียง และประโยชน์ของการขับร้องประสานเสียงมาพอเข้าใจ  (10  คะแนน)  โดยไม่ซ้ำกับเพื่อที่ส่งก่อน หากซ้ำกันคนที่ส่งทีหลังไม่ได้คะแนน  นักเรียนบอกคำตอบ  และพิมพ์ชื่อ  ชั้น  เลขที่ ให้เรียบร้อย

161 ตอบกลับที่ บทที่ 2 สร้างสรรค์งานดนตรี

  1. จารุวัฒน์ อินใจ พูดว่า:

    หลักการขับร้องเพลง
    การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
    1. ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
    1. การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
    2. การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
    3. การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
    4. การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
    2. การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
    1. ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
    2. ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
    การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
    1. ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
    2. หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
    3. ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
    4. ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
    5. เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง
    3. การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
    การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
    1. ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
    2. ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
    3. ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
    4. ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
    5. ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
    6. ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง
    ผลการวิจัยเผยให้เห็นว่าการร้องเพลงประสานเสียง มีรูปแบบการหายใจเข้าออกคล้ายคลึงกับการทำโยคะ ซึ่งกิจกรรมทั้งสองอย่างล้วนส่งผลดีต่ออัตราการเต้นของหัวใจ

    เด็กชาย จารุวัฒน์ อินใจ ม.1/3 เลขที่ 2

  2. ด.ญ.ธนาวัลย์ แสนเหลี่ยว ม.1\4 พูดว่า:

    หลักการร้องเพลงประสานเสียง
    หลักการร้องเพลงประสานเสียงมีดังนี้
    1.แบ่งกลุ่มเสียงให้เสียงร้องออกมาดูมีความพอเหมาะ
    2.จัดคนร้องออกเป็นคนละกลุ่มเสียง
    3.จัดคนร้องแต่ละกลุ่มคละกัน(หญิง-ชาย,เก่ง-ไม่เก่ง
    4.แบ่งเสียงตามระดับเสียง3-4กลุ่ม
    5.ทดลองปฎิบัติการร้องประสานเสียง

  3. นิรนาม พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

    ……………………เด็กหญิง ดาว ใจทอง ชั้น ม1/2 เลขที่ 27……………………………

  4. นิรนาม พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

    …………………เด็กหญิง ส่วยหว่า ศรีอุทา ชั้น ม.1/3 เลขที่30………………………..

  5. ด.ช.สุรศักดิ์ แยเปีย ม.1\1 พูดว่า:

    หลักการร้องเพลงประสานเสียง
    หลักการร้องเพลงประสานเสียงมีดังนี้
    1.แบ่งกลุ่มเสียงให้เสียงร้องออกมาดูมีความพอเหมาะ
    2.จัดคนร้องออกเป็นคนละกลุ่มเสียง
    3.จัดคนร้องแต่ละกลุ่มคละกัน(หญิง-ชาย,เก่ง-ไม่เก่ง
    4.แบ่งเสียงตามระดับเสียง3-4กลุ่ม
    5.ทดลองปฎิบัติการร้องประสานเสียง

  6. ด.ญ.ชลิตา แซ่หมี่ พูดว่า:

    หลักการขับร้องเพลง
    หลักการขับร้องเพลง การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น 1. ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี 2. การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง 3. การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ 4. การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง 2. การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้ 1. ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ 2. ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี 2. หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง 3. ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี 4. ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้ 5. เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

  7. นิรนาม พูดว่า:

    ศาริกา วนาเกษมสุข ม 1/1 เลขที่ 44
    1. ได้ยินถึงเสียงขับร้องที่พร้อมกัน
    2 .ได้ยินเเละได้รู้สึกถึงความกลมกลืนของเสียงเเนวต่างต่างกันไป
    3 .ได้ยินเเละรู้สึกถึงความสัมพันธ์ของเสียงเเละระหว่างเสียงเเนวต่างต่าง
    4. ได้ยินถึงเสียงขับร้องเเนวของตนเองเเละเสียงขับร้องเเนวอื่นอื่นของเพื่อนเพื่อนที่ร้องร่วมกัน
    5. ได้ยินถึงความสมดุลของเสียงเเนวต่างต่างกัน

  8. ด.ญ.ชลิตา แซ่หมี่ ม.1\4 พูดว่า:

    หลักการขับร้องเพลง
    หลักการขับร้องเพลง การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น 1. ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี 2. การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง 3. การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ 4. การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง 2. การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้ 1. ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ 2. ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี 2. หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง 3. ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี 4. ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้ 5. เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

  9. ด.ญ.ชลิตา แซ่หมี่ ม.1\4 เลขที่ 40 พูดว่า:

    หลักการขับร้องเพลง
    หลักการขับร้องเพลง การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น 1. ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี 2. การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง 3. การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ 4. การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง 2. การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้ 1. ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ 2. ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี 2. หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง 3. ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี 4. ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้ 5. เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

  10. ด.ช.บุญศรี เชมลี ม.1\5 เลขที่13 พูดว่า:

    1. ได้ยินถึงเสียงขับร้องที่พร้อมกัน
    2 .ได้ยินเเละได้รู้สึกถึงความกลมกลืนของเสียงเเนวต่างต่างกันไป
    3 .ได้ยินเเละรู้สึกถึงความสัมพันธ์ของเสียงเเละระหว่างเสียงเเนวต่างต่าง
    4. ได้ยินถึงเสียงขับร้องเเนวของตนเองเเละเสียงขับร้องเเนวอื่นอื่นของเพื่อนเพื่อนที่ร้องร่วมกัน
    5. ได้ยินถึงความสมดุลของเสียงเเนวต่างต่างกัน

  11. สิทธิชัย ม 1/4 พูดว่า:

    หลักการร้องเพลงประสานเสียงให้ไพเราะอีกข้อหนึ่งก็คือ “ความลับนั้นอยู่ที่ตอนจบวรรค” เอ๊ะ มันคืออะไร เรามาดูกัน – ความยากของการร้องเพลงโดยมีคนมากกว่า 1 คนขึ้นไปคือการทำให้ร้องพร้อมกันให้ได้ ทั้งจังหวะและระดับเสียง ซึ่งแน่นอนว่าต้องใช้ทั้ง “ตา” และ “หู” ทำงานประสานกันเพื่อให้ “ปาก” ร้องออกมาให้พร้อมกัน นักร้องส่วนใหญ่ ตั้งใจมากเพื่อขึ้นให้พร้อมกัน แต่มักจะลืมในการจบให้พร้อมกัน เพราะว่าการขึ้นนั้นง่าย การลงจบวรรคนั้นยาก เปรียบเสมือนเครื่องบิน การ take off นั้นไม่เท่าไหร่ แต่ที่เสียวไส้ที่สุดคือ landing ว่าจะนุ่มนวลขนาดไหน ถ้าลงจอดได้นิ่มก็แสดงว่ากัปตันนั้นเก่ง แต่ถ้าลงแบบกระแทกกระทั้นจนผู้โดยสารแทบหัวใจวายนี่แสดงว่าไม่ดีแน่ๆ การลงจบวรรคที่ดีคือการที่ทุกคนร้องโน้ตสุดท้ายในน้ำหนักที่เท่ากัน และตัดเสียงจบเท่ากัน ไม่มีใครแพลมออกมา ไม่มีใครแกว่งจนเพี้ยน ทำตอนจบวรรคแต่ละวรรคให้เท่ากันอย่างสวยงาม แล้วเพลงจะเพราะขึ้นอีกหลายเท่า
    ด.ช สิทธิชัย ยอดคำ ม1/4

  12. นิรนาม พูดว่า:

    เมื่อนักเรียนมีประสบการณ์ในการร้องเพลงเสียงเดียว ทั้ในแบบร้องเดี่ยวและร้อองหมู่ นักเรียนควรได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ในเรื่องของการร้องประสานเสียงพื้นฐาน
    การร้องเพลงประสานเสียงได้ดีนั้น นักเรียนจะต้องเข้าใจการร้องเสียงเดี่ยว ทั้การร้องแบบเดี่ยวและแบบหมู่ขณะ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่นักเรียนจะต้องร้องเพลงได้ถูกระดับเสียง หรือร้องเสียงไม่เพี้ยน
    ด ญ พร กุลศรีทวีปัญญา ชั้น ม1/3

  13. นิรนาม พูดว่า:

    หลักการขับร้องเพลงประสานเสียง
    การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
    1. ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
    1. การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
    2. การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
    3. การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
    4. การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
    2. การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
    1. ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
    2. ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
    การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
    1. ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
    2. หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
    3. ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
    4. ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
    5. เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

    เด็กหญิง เสาวนา ทูตสันติ ชั้นม.1/5 เลขที่ 25

  14. ด.ช.ณรงค์ศักดิ์ ถนอมวงค์ศรี พูดว่า:

    หลักการขับร้องประสานเสียงการร้องเพลงประสานเสียงมีประสบการณ์ในการร้องเพลงเสียงเดี่ยวทั้งในแบบร้องเดี่ยวและร้องหมู่ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้เรื่องของการร้องประสานเสียงพื้นฐานการร้องเพลงประสานเสียงได้ดีนั้นต้องเข้าใจการร้องเพลงเสียงเดี่ยวทั้งการร้องแบบเดี่ยวและหมู่คณะซึ่งเป็นพื้นฐานจะต้องร้องเพลงได้ถูกระดับเสียงหรือร้องเสียงไม่เพี้ยน
    ประโยชน์ของการร้องเพลงประสานเสียง1. ได้ยินถึงเสียงขับร้องที่พร้อมกัน
    2 .ได้ยินเเละได้รู้สึกถึงความกลมกลืนของเสียงเเนวต่างต่างกันไป
    3 .ได้ยินเเละรู้สึกถึงความสัมพันธ์ของเสียงเเละระหว่างเสียงเเนวต่างต่าง
    4. ได้ยินถึงเสียงขับร้องเเนวของตนเองเเละเสียงขับร้องเเนวอื่นอื่นของเพื่อนเพื่อนที่ร้องร่วมกัน
    5. ได้ยินถึงความสมดุลของเสียงเเนวต่างต่างกัน
    ด.ช.ณรงค์ศักดิ์ ถนอมวงค์ศรี ม.1\1 เลขที่ 14

  15. นิรนาม พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง
    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย
    เด็กหญิง พิมพ์พจี แลยี ชั้น ม.1/3 เลขที่ 31

  16. ด.ญ. นํ้าทิพย์ สะท้านถิ่น ม1/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    การขับร้องเพลงของนักร้อง หรือนักร้องประสานเสียง ควรพัฒนาเทคนิคการขับร้องเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่การวางท่าทางที่ถูกต้อง การใช้ลมอย่างสมบูรณ์ การเปล่งเสียงที่ถูกวิธี ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ร้องมีเทคนิคการร้องที่ดี ป้องกันการร้องเพี้ยน ซึ่งจะทำให้เจ็บคอ เจ็บกล้ามเนื้อ จนไปถึงไม่สามารถร้องเพลงได้

    วาทยากร (Conductor) ในที่นี้จะหมายถึงผู้อำนวยเพลงของคณะนักร้องประสานเสียง ซึ่งเป็นผู้ฝึกสอนคณะนักร้องประสานเสียง โดยใช้เวลาการฝึกซ้อม สม่ำเสมอ ปูพื้นฐานการร้องเพลงที่ถูกวิธี การเลือกเพลงร้องที่เหมาะสม ดูช่วงกว้างของระดับเสียงว่าเหมาะสมกับคณะนักร้องหรือไม่ จังหวะ และความเข้มของเสียงที่พอดี และองค์ประกอบอื่นๆ ให้เหมาะสมกับคณะนักร้องประสานเสียงที่สุด

    การฝึกซ้อม การสร้างเสียงประสาน ขั้นตอนการขับร้องเดี่ยว จะแตกต่างกับการฝึกนักร้องประสานเสียง แต่ยังคงใช้หลักการฝึกร้องเพลงเหมือนกัน เพื่อพัฒนาเทคนิคการขับร้องและสร้างเสียงที่มีคุณภาพ ในการขับร้องประสานเสียงนั้น นักร้องต้องพยายามร้องให้เสียงกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นั่นหมายถึงทุกคนจะต้องเปล่งเสียงพยัญชนะสระอย่างพร้อมเพรียงกัน ด้วยเทคนิคการร้องเหมือนกัน การสื่อความหมายของเพลง เข้าใจตรงกัน นอกเหนือจากที่จะต้องร้องให้พร้อมเพรียงกันในแนวเสียงเดียวกัน เพื่อให้สื่อความหมายของเพลงได้อย่างสมบูรณ์

    จุดมุ่งหมายของการฝึกซ้อมการขับร้องเพลง
    1. ท่าทางการยืน – มีท่าทางที่ดี มั่นใจ ไม่เกรง ปล่อยตามสบาย แต่มั่งคง ซึ่งจะเอื้ออำนวยให้หายใจได้ถูกวิธีและร้องออกมาได้ดี
    2. การหายใจและการควบคุมการใช้ลม – ซี่โครง (rib) ให้ขยายออกได้อย่างสบาย อกไม่ยุบเมื่อหายใจออก หายใจไม่มีเสียงดัง ควบคุมลมหายใจได้ดี และให้คงขยายซี่โครงไว้ตลอดเวลาในขณะร้องเพลง
    3. ร้องสระได้ชัดเจน – สามารถร้องเพลงได้ชัด ทำรูปปากให้ถูกต้อง
    4. ร้องพยัญชนะได้ชัดเจน – ไม่เกร็งขากรรไกร ไม่เกร็งลิ้นและขยันปากได้คล่อง
    5. ภาษาชัดเจน – มีความสามารในการร้องเพลงภาษาต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ถูกต้องตามหลักของภาษานั้นๆ
    6. มีเสียงก้องกังวาน – เข้าใจวิธีการทำให้เสียงมีความก้องกังวาน และรู้จักที่จะใช้เทคนิคการสั่นเสียงได้อย่างพอเหมาะพอดี
    7. รู้จักเสียงของตนเอง – รู้ขีดความสามารถของเสียงตนเอง รู้จักช่วงเสียงที่เหมาะสมของตน รู้จักข้อดีข้อเสียของตนอยู่ที่ใด จะนำมาใช้อย่างไร
    8. รู้จักวิธีการฝึกซ้อม – เข้าใจวิธีการฝึกซ้อมอย่างมีประสิทธิภาพ รู้ขั้นตอนและวิธีการศึกษาเพลงอย่างละเอียด
    9. รู้จักวิธีการตีความบทเพลง (Interpretation) – สามารถตีความบทเพลงและถ่ายทอดอารมณ์เพลงได้ถูกต้อง
    10. แสดงได้ – มีความสามารถที่จะนำเสนอ แสดงการขับร้องต่อหน้าผู้ชมด้วยความมั่นใจได้
    11. ร้องประสานเสียงได้- นำความรู้ด้านทักษะการขับร้องเกียวไปใช้ในการขับร้องปรานเสียงได้ โดยสามารถแยกแยะเทคนิคการเปล่งเสียงในการขับร้องเดียวและในการขับร้องกลุ่ม
    12. รักษาสุขภาพ – รักษาสุขลักษณะที่ดี กินอาหารถูกต้องตามโภชนาการ และดูแลรักษาสุขภาพรักษากล่องเสียง และรู้วิธีการขับร้องที่ไม่ทำลายเสียง
    13. รู้จักการพัฒนา – พัฒนาความสามารถและเทคนิคในการขับร้องอยู่เสมอ ทั้งทางด้านทฤษฏีและปฏิบัติ

  17. นิรนาม พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง (Choral Singing)

    การขับร้องประสานเสียง คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลงมากกว่าเนื้อทำนองหนึ่งแนว โดยจะมีแนวทำนองหลักหนึ่งแนว ส่วนทำนองอื่น ๆ จะเป็นแนวประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียงแบบต่าง ๆ

    1. Chant เป็นการประสานแบบง่าย ๆ เพียงแต่ใส่แนวประสานเสียงซึ่งเป็นแนวทำนองที่มีระดับเสียงต่ำกว่าแนวทำนองหลักแต่ใช้ระดับเสียงไม่มากนัก ปกติจะประมาณ 2–3 ระดับเสียง โดยร้องซ้ำ ๆ ทั้งเพลง เรียกว่า ออสตินาโต (Ostinato)

    2. Echo เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเพลงเดียวกันแต่เริ่มต้นขับร้องไม่พร้อมกัน แนวเสียงแรกหรือกลุ่มแรกจะเป็นผู้นำ ส่วนเสียงที่สองจะเป็นเสียงสะท้อนของเสียงแรก

    3. Descant เป็นการประสานเสียงที่ใช้แนวประสานเสียงอยู่เหนือแนวทำนองหลัก มีลักษณะคล้าย ๆ chant เพียงแต่ chant แนวประสานอยู่ต่ำกว่าแนวทำนองหลัก

    4. Canon เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเดียวกันตั้งแต่เริ่มต้น แต่ขับร้องไม่พร้อมกันมีลักษณะคล้ายกับ Echo แต่มีความยาวกว่าและเสียงของโน้ตสุดท้ายไม่จำเป็นต้องพอดีกัน จึงทำให้เสียงของแต่ละแนวสอดประสานทับกัน การขับร้องประสานเสียงประเภทนี้สามารถร้องได้มากกว่าสองแนว

    5. Part-singing เป็นการขับร้องที่แต่ละแนวมีทำนองเพลงเฉพาะของตนเองอย่างสมบูรณ์ การขับร้องแบบนี้สามารถขับร้องได้ตั้งแต่สองแนวไปจนถึงสี่แนว

    เด็กหญิง นาสอ อามอ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 35

  18. บุญธรรม แซ่ถัง ชั้น ม.1/1เลขที่2 พูดว่า:

    การขับร้องเพลงของนักร้อง หรือนักร้องประสานเสียง ควรพัฒนาเทคนิคการขับร้องเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่การวางท่าทางที่ถูกต้อง การใช้ลมอย่างสมบูรณ์ การเปล่งเสียงที่ถูกวิธี ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ร้องมีเทคนิคการร้องที่ดี ป้องกันการร้องเพี้ยน ซึ่งจะทำให้เจ็บคอ เจ็บกล้ามเนื้อ จนไปถึงไม่สามารถร้องเพลงได้

    วาทยากร (Conductor) ในที่นี้จะหมายถึงผู้อำนวยเพลงของคณะนักร้องประสานเสียง ซึ่งเป็นผู้ฝึกสอนคณะนักร้องประสานเสียง โดยใช้เวลาการฝึกซ้อม สม่ำเสมอ ปูพื้นฐานการร้องเพลงที่ถูกวิธี การเลือกเพลงร้องที่เหมาะสม ดูช่วงกว้างของระดับเสียงว่าเหมาะสมกับคณะนักร้องหรือไม่ จังหวะ และความเข้มของเสียงที่พอดี และองค์ประกอบอื่นๆ ให้เหมาะสมกับคณะนักร้องประสานเสียงที่สุด

    การฝึกซ้อม การสร้างเสียงประสาน ขั้นตอนการขับร้องเดี่ยว จะแตกต่างกับการฝึกนักร้องประสานเสียง แต่ยังคงใช้หลักการฝึกร้องเพลงเหมือนกัน เพื่อพัฒนาเทคนิคการขับร้องและสร้างเสียงที่มีคุณภาพ ในการขับร้องประสานเสียงนั้น นักร้องต้องพยายามร้องให้เสียงกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นั่นหมายถึงทุกคนจะต้องเปล่งเสียงพยัญชนะสระอย่างพร้อมเพรียงกัน ด้วยเทคนิคการร้องเหมือนกัน การสื่อความหมายของเพลง เข้าใจตรงกัน นอกเหนือจากที่จะต้องร้องให้พร้อมเพรียงกันในแนวเสียงเดียวกัน เพื่อให้สื่อความหมายของเพลงได้อย่างสมบูรณ์

    จุดมุ่งหมายของการฝึกซ้อมการขับร้องเพลง
    1. ท่าทางการยืน – มีท่าทางที่ดี มั่นใจ ไม่เกรง ปล่อยตามสบาย แต่มั่งคง ซึ่งจะเอื้ออำนวยให้หายใจได้ถูกวิธีและร้องออกมาได้ดี
    2. การหายใจและการควบคุมการใช้ลม – ซี่โครง (rib) ให้ขยายออกได้อย่างสบาย อกไม่ยุบเมื่อหายใจออก หายใจไม่มีเสียงดัง ควบคุมลมหายใจได้ดี และให้คงขยายซี่โครงไว้ตลอดเวลาในขณะร้องเพลง
    3. ร้องสระได้ชัดเจน – สามารถร้องเพลงได้ชัด ทำรูปปากให้ถูกต้อง
    4. ร้องพยัญชนะได้ชัดเจน – ไม่เกร็งขากรรไกร ไม่เกร็งลิ้นและขยันปากได้คล่อง
    5. ภาษาชัดเจน – มีความสามารในการร้องเพลงภาษาต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ถูกต้องตามหลักของภาษานั้นๆ
    6. มีเสียงก้องกังวาน – เข้าใจวิธีการทำให้เสียงมีความก้องกังวาน และรู้จักที่จะใช้เทคนิคการสั่นเสียงได้อย่างพอเหมาะพอดี
    7. รู้จักเสียงของตนเอง – รู้ขีดความสามารถของเสียงตนเอง รู้จักช่วงเสียงที่เหมาะสมของตน รู้จักข้อดีข้อเสียของตนอยู่ที่ใด จะนำมาใช้อย่างไร
    8. รู้จักวิธีการฝึกซ้อม – เข้าใจวิธีการฝึกซ้อมอย่างมีประสิทธิภาพ รู้ขั้นตอนและวิธีการศึกษาเพลงอย่างละเอียด
    9. รู้จักวิธีการตีความบทเพลง (Interpretation) – สามารถตีความบทเพลงและถ่ายทอดอารมณ์เพลงได้ถูกต้อง
    10. แสดงได้ – มีความสามารถที่จะนำเสนอ แสดงการขับร้องต่อหน้าผู้ชมด้วยความมั่นใจได้
    11. ร้องประสานเสียงได้- นำความรู้ด้านทักษะการขับร้องเกียวไปใช้ในการขับร้องปรานเสียงได้ โดยสามารถแยกแยะเทคนิคการเปล่งเสียงในการขับร้องเดียวและในการขับร้องกลุ่ม
    12. รักษาสุขภาพ – รักษาสุขลักษณะที่ดี กินอาหารถูกต้องตามโภชนาการ และดูแลรักษาสุขภาพรักษากล่องเสียง และรู้วิธีการขับร้องที่ไม่ทำลายเสียง
    13. รู้จักการพัฒนา – พัฒนาความสามารถและเทคนิคในการขับร้องอยู่เสมอ ทั้งทางด้านทฤษฏีและปฏิบัติ

  19. ด.ญ ทัศนีย์ คำเฮือง พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

  20. ด.ญ ทัศนีย์ คำเฮือง พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

    ด.ญ ทัศนีย์ คำเฮือง ม.1/1 เลขที่ 28

  21. ด.ญ ฟ้า แซ่จาว พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง คือ การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก เป็นทำนองประสานเสียง

    ด.ญ ฟ้า แซ่จาว ม.1/1 เลขที่ 21

  22. ด.ญ มันทนา ยี่คำ พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง จะมีแนวเสียงใหญ่ๆ อยู่ 4 แนวด้วยกันคือ

    1. แนวโซปราโน (SOPRANO) เป็นเสียงสูงสุด ได้แก่ เสียงของผู้ที่มีเสียงสูงและเด็กที่เสียงยังไม่แตกมีขอบเขตเสียงจาก โด-ซอล

    2. แนวอาลโต (ALTO) เป็นเสียงที่ต่ำรองลงมาจากโซปราโน ได้แก่ เสียงของผู้หญิงที่มีเสียงต่ำกว่าโซปราโน มีขอบเขตเสียงจาก ซอล-โด

    3. แนวเตเนอร์ (TENOR) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงสูง มีขอบเขตเสียงจากโด-ซอล

    4. แนวเบส (BASS) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงต่ำ มีขอบเขตเสียงจากฟา-โดโดยธรรมชาติ คนเราจะมีขอบเขตเสียงของแต่ละคนไม่เท่ากัน อย่างเช่นบางคนเสียงสูงมาก บางคนสูงไม่มาก บางคนต่ำ และบางคนก็ต่ำมากไม่เท่ากัน
    ด.ญ .มันทนา ยี่คำ ม.1/1 เลขที่ 14

  23. นิรนาม พูดว่า:

    การร้องประสานเสียงเมื่อนักเรียนมีประสบการณ์ในการร้องเพลงเสียงเดียวทั้งในแบบร้องเดี่ยวและร้องหมู่นักเรียนควรได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ในเรื่องของการร้องประสานเสียงพื้นฐานการร้องเพลงประสานเสียงได้ดีนั้นนักเรียนจะต้องเข้าใจการร้องเสียงเดียวทั้งการร้องแบบเดี่ยวและหมู่คณะซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่นักเรียนจะต้องร้องเพลงได้ถูกระดับเสียงหรือร้องเสียงไม่เพี้ยน
    ด.ญ.ณิชากร มาเยอะ ชั้น ม. 1/1 เลขที่ 40

  24. 88 พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

    • 88 พูดว่า:

      ยังไม่จบ
      การขับร้องประสานเสียง คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลงมากกว่าเนื้อทำนองหนึ่งแนว โดยจะมีแนวทำนองหลักหนึ่งแนว ส่วนทำนองอื่น ๆ จะเป็นแนวประสานเสียง

      การขับร้องประสานเสียงแบบต่าง ๆ

      1. Chant เป็นการประสานแบบง่าย ๆ เพียงแต่ใส่แนวประสานเสียงซึ่งเป็นแนวทำนองที่มีระดับเสียงต่ำกว่าแนวทำนองหลักแต่ใช้ระดับเสียงไม่มากนัก ปกติจะประมาณ 2–3 ระดับเสียง โดยร้องซ้ำ ๆ ทั้งเพลง เรียกว่า ออสตินาโต (Ostinato)

      2. Echo เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเพลงเดียวกันแต่เริ่มต้นขับร้องไม่พร้อมกัน แนวเสียงแรกหรือกลุ่มแรกจะเป็นผู้นำ ส่วนเสียงที่สองจะเป็นเสียงสะท้อนของเสียงแรก

      3. Descant เป็นการประสานเสียงที่ใช้แนวประสานเสียงอยู่เหนือแนวทำนองหลัก มีลักษณะคล้าย ๆ chant เพียงแต่ chant แนวประสานอยู่ต่ำกว่าแนวทำนองหลัก

      4. Canon เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเดียวกันตั้งแต่เริ่มต้น แต่ขับร้องไม่พร้อมกันมีลักษณะคล้ายกับ Echo แต่มีความยาวกว่าและเสียงของโน้ตสุดท้ายไม่จำเป็นต้องพอดีกัน จึงทำให้เสียงของแต่ละแนวสอดประสานทับกัน การขับร้องประสานเสียงประเภทนี้สามารถร้องได้มากกว่าสองแนว

      5. Part-singing เป็นการขับร้องที่แต่ละแนวมีทำนองเพลงเฉพาะของตนเองอย่างสมบูรณ์ การขับร้องแบบนี้สามารถขับร้องได้ตั้งแต่สองแนวไปจนถึงสี่แนว

      ……………………………………ด.ญ.อนงค์ เลาลี ชั้น ม.1/1 เลขที่ 25

    • 88 พูดว่า:

      ต่อกับข้างล่าง

  25. ด.ญ.กัญญาณัฐ ลาภประเสริฐโสภณ พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียงจึงต้องมีการจัดขอบเขตเสียงให้ผู้ร้อง ว่าคนไหนควรจะขับร้องในแนวใด ซึ่งในทางเทคนิคแล้วจะแบ่งขอบเขตเสียงของคนเราเป็น 4 ประเภทดังกล่าวแต่ในเมืองไทยนั้นหายาก ที่จะมีผู้ร้องที่มีขอบเขตเสียงดังกล่าว ฉะนั้นจึงวัดได้เฉพาะขอบเขตเสียงที่ใกล้เคียงเท่านั้นแต่บางคนมีขอบเขตเสียงเกินกว่าที่กำหนดไว้เหมือนกัน เช่น ในแนวโซปราโน บางคนอาจจะร้องได้สูงสุดถึง โด คาบเส้นน้อยที่ 2 และ เร เหนือเส้นน้อยที่ 2 แต่นั่นก็ถือว่าเป็นความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคล

    เมื่อจัดระดับเสียงของผู้ร้องที่จะขับร้องประสานเสียงได้แล้วก็มาถึงการจัดความกลมกลืนของเสียง (BALANT) การจัดกำลังคนไม่กำหนดว่าจะต้องมีกำลังคนเท่าใด โดยให้จัดตามกำลังเสียงที่ออกมา คือ แนวโซปราโน ส่วนมากจะร้องในแนวสูงสุดของบทเพลงไม่ต้องใช้ผู้ร้องจำนวนมากเพราะเสียงที่สูงจะมีกำลังอยู่แล้ว แต่ แนวเบส เป็นแนวที่มีกำลังเสียงและระดับเสียงที่ต่ำ ควรจะเพิ่มกำลังคนโดยจะใช้จำนวนเท่าใดขึ้นอยู่กับเสียงที่ออกมาจะต้องกลมกลืนพอดี

    นอกจากจะปรับความกลมกลืนของเสียง (BALANT) ด้วยการปรับจำนวนของผู้ร้องแล้ว ยังสามารถที่จะปรับความกลมกลืนด้วยการควบคุมความดังเบาของกำลังเสียงได้อีกวิธีหนึ่ง เช่น ถ้าผู้ร้องแนวใดแนวหนึ่งมาก และมีเสียงร้องออกมาดังกว่าแนวอื่นก็แก้ไขด้วยการให้ร้องเบาลงเฉพาะแนวนั้นๆ

    ดังที่กล่าวมาแล้วว่า มนุษย์เรามีธรรมชาติการควบคุมการขับร้อง การพูด การออกเสียงมาด้วยกันทุกคน แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ธรรมชาติเหล่านั้นไม่คล่องตัวหรืออาจจะเป็นเพราะความเผลอไผลในเวลาใช้ก็ได้ จึงมีการคิดค้นเทคนิคทางการออกเสียงขับร้องขึ้นมาโดยใช้ธรรมชาติเป็นหลักดังนี้

    1. การฝึกออกเสียง (VOCALIZE) มีความสำคัญมากเพราะการออกเสียงทุกครั้งต้องมีสิ่งที่จะต้องควบคุมหลายอย่าง เช่น การใช้ลมอักขระต้องให้ถูกต้อง เพราะเมื่อขับร้องหมู่ประสานเสียงแล้วจะเกิดความพร้อมเพรียงและถูกต้อง

    2. เทคนิคทางการพูดและการแสดง การแสดงในที่นี้หมายถึงการใส่อารมณ์ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า SPEECH AND DRAMA การตีความหมายของบทเพลง ต้องใส่อารมณ์อย่างไร จึงจะถูกต้องตามความหมายของบทเพลง เช่น เพลงที่มีความหมายไปในทางเศร้า จะต้องแสดงอารมณ์ของบทเพลงอย่างไร บทเพลงที่มีเนื้อหาไปในทางที่สนุกสนานจะต้องแสดงอารมณ์อย่างไร

    3. การปั้นรูปปาก (LIP TORMATION) เป็นสิ่งสำคัญมากในการขับร้อง การร้องคำต่างๆ เช่น คำที่อยู่ในสระ อี อา โอ อู จะปั้นรูปปากอย่างไร เมื่อนำเทคนิคในการพูดและการขับร้องต่างๆ มารวมกัน ก็จะทำให้มีการขับร้องที่ถูกต้อง ไม่ผิดลักษณะต่างๆ ตามธรรมชาติ ซึ่งสำคัญมากสำหรับหมู่ขับร้องประสานเสียง เพราะเป็นการขับร้องของคนจำนวนมาก ถ้าการขับร้องไม่เหมือนกันก็จะเป็นการยากลำบากในการขับร้อง

    ที่กล่าวมาเป็นหลักใหญ่ ๆ ในการขับร้องประสานเสียง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช้หลักการและวิธีการเหมือนการขับร้องเดี่ยวนั่นเอง

    สำหรับการขับร้องประสานเสียง โดยทั่วไปจะมีหมู่ขับร้องที่ใช้อยู่คือหมู่ขับร้อง ประสานเสียง 4 แนว ได้แก่ แนว โซปราโน และแนว อาลโต ซึ่งจะเป็นผู้หญิงร้อง และ แนว เตเนอร์ กับ เบส เป็นหมู่นักขับร้องชาย ถ้าเป็นหมู่ขับร้องชายล้วน มีชื่อว่า “MALE CHOIR” ประกอบด้วยแนว เตเนอร์ 1 เตเนอร์ 2 และ แนว เบส ถ้าเป็นหมู่ขับร้องหญิงล้วน มีชื่อว่า “FEMALE CHOIR”ประกอบด้วยแนว โซปราโน เมซโซ โซปราโน และแนว อาลโต
    ด.ญ.กัญญาณัฐ ลาภประเสริฐโสภณ ม. 1/1 เลขที่ 17

  26. ดฺ.ญ สายป่าน วิทยาชัยสกุล ม.1/1 เลขที่ 20 พูดว่า:

    ประเภทของการขับร้อง

    การขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

  27. นิรนาม พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียงทำให้ได้เสียงที่จัดเจนยิ่งขึ้น

    เด็กหญิงนฤมล แก้วคำ ม.1/1 เลขที่43

  28. นิรนาม พูดว่า:

    การร้องประสานเสียงเป็นการผึกร้องเพลงประสานเสียง

    ด.ญอำพร พงษ์นิด ม.1/4

  29. นิรนาม พูดว่า:

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคbn ดญสุภาภรณ์ แซ่ลิ่ว เลขที่47 ม1/5

  30. นิรนาม พูดว่า:

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแน
    วทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน
    ดญชนาพร แซ่ลี้ เลขที่38 ม1/5

  31. ด.ญ. นัทดา แสงนุ้ย เลขที่33 ชั้น ม.1/1 พูดว่า:

    หลักการขับร้องเพลงประสานเสียง มีดังนี้
    1.แบ่งกลุ่มเสียงให้เสียงร้องออกมามีความพอเหมาะ
    2.จัดคนร้องออกเป็นคนละกลุ่มเสียง
    3.จัดคนร้องแต่ละกลุ่มคละกัน(หญิง-ชาย,เก่ง-ไม่เก่ง)ปะปนกันไป
    4.แบ่งเสียงตามระดับเสียง3-4กลุ่ม
    5.ทดลองปฏิบัติการร้องประสานเสียง

    ประโยชน์ของการขับร้องเพลงประสานเสียง มีดังนี้
    1.ได้ยินถึงความสัมพันธ์ของเสียงและระหว่างเสียงแนวต่างๆ
    2.ได้ยินความสมดุลของเสียงแนวต่างๆ
    3.ได้ยินได้รู้สึกรับรู้ถึงความกลมกลืนของเสียงแนวต่างๆ
    4.ได้ยินเสียงร้องแนวของตนและเสียงร้องแนวอื่นของเพื่อนที่ร้อง

    ด.ญ. นัทดา แสงนุ้ย เลขที่33 ชั้น ม.1/1

  32. ด.ช. พงคักดิ์ แสงนุ้ย เลขที่12 ชั้น ม.1/3 พูดว่า:

    **หลักการร้องเพลงประสานเสียง**
    แบ่งกลุ่มเสียงให้เสียงร้องออกมามีความพอเหมาะ จัดคนร้องออกเป็นคนละกลุ่มเสียง
    จัดคนร้องแต่ละกลุ่มคละกัน(หญิง-ชาย,เก่ง-ไม่เก่ง)ปะปนกันไป แบ่งเสียงตามระดับเสียง3-4กลุ่ม
    และทดลองปฏิบัติการร้องประสานเสียง

    **ประโยชน์ของการร้องเพลงประสานเสียง**
    ได้ยินถึงความสัมพันธ์ของเสียงและระหว่างเสียงแนวต่างๆ ได้ยินความสมดุลของเสียงแนวต่างๆ
    ได้ยินได้รู้สึกรับรู้ถึงความกลมกลืนของเสียงแนวต่างๆและได้ยินเสียงร้องแนวของตนและเสียงร้องแนวอื่นของเพื่อนที่ร้อง
    ด.ช. พงคักดิ์ แสงนุ้ย เลขที่12 ชั้น ม.1/3

  33. ด.ญ อรพิน ปัญญา ชั้น ม 1/3 พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

    ด.ญ อรพิน ปัญญา ชั้น ม 1/3

  34. ด.ญ อรพิน ปัญญา ชั้น ม 1/3 พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

    ด.ญ อรพิน ปัญญา ชั้น ม 1/3

  35. พุฒิพงษ์ วุฒยากร ชั้น ม 1/3 พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย
    ด.ช พุฒิพงษ์ วุฒยากร ชั้น ม 1/3

  36. อนุชา อู่ลือ ชั้น ม 1/3 พูดว่า:

    ความรู้เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง

    ในการขับร้องประสานเสียง จะมีแนวเสียงใหญ่ๆ อยู่ 4 แนวด้วยกันคือ

    1. แนวโซปราโน (SOPRANO) เป็นเสียงสูงสุด ได้แก่ เสียงของผู้ที่มีเสียงสูงและเด็กที่เสียงยังไม่แตกมีขอบเขตเสียงจาก โด-ซอล

    2. แนวอาลโต (ALTO) เป็นเสียงที่ต่ำรองลงมาจากโซปราโน ได้แก่ เสียงของผู้หญิงที่มีเสียงต่ำกว่าโซปราโน มีขอบเขตเสียงจาก ซอล-โด

    3. แนวเตเนอร์ (TENOR) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงสูง มีขอบเขตเสียงจากโด-ซอล

    4. แนวเบส (BASS) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงต่ำ มีขอบเขตเสียงจากฟา-โดโดยธรรมชาติ คนเราจะมีขอบเขตเสียงของแต่ละคนไม่เท่ากัน อย่างเช่นบางคนเสียงสูงมาก บางคนสูงไม่มาก บางคนต่ำ และบางคนก็ต่ำมากไม่เท่ากัน

    ในการขับร้องประสานเสียงจึงต้องมีการจัดขอบเขตเสียงให้ผู้ร้อง ว่าคนไหนควรจะขับร้องในแนวใด ซึ่งในทางเทคนิคแล้วจะแบ่งขอบเขตเสียงของคนเราเป็น 4 ประเภทดังกล่าวแต่ในเมืองไทยนั้นหายาก ที่จะมีผู้ร้องที่มีขอบเขตเสียงดังกล่าว ฉะนั้นจึงวัดได้เฉพาะขอบเขตเสียงที่ใกล้เคียงเท่านั้นแต่บางคนมีขอบเขตเสียงเกินกว่าที่กำหนดไว้เหมือนกัน เช่น ในแนวโซปราโน บางคนอาจจะร้องได้สูงสุดถึง โด คาบเส้นน้อยที่ 2 และ เร เหนือเส้นน้อยที่ 2 แต่นั่นก็ถือว่าเป็นความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคล

    เมื่อจัดระดับเสียงของผู้ร้องที่จะขับร้องประสานเสียงได้แล้วก็มาถึงการจัดความกลมกลืนของเสียง (BALANT) การจัดกำลังคนไม่กำหนดว่าจะต้องมีกำลังคนเท่าใด โดยให้จัดตามกำลังเสียงที่ออกมา คือ แนวโซปราโน ส่วนมากจะร้องในแนวสูงสุดของบทเพลงไม่ต้องใช้ผู้ร้องจำนวนมากเพราะเสียงที่สูงจะมีกำลังอยู่แล้ว แต่ แนวเบส เป็นแนวที่มีกำลังเสียงและระดับเสียงที่ต่ำ ควรจะเพิ่มกำลังคนโดยจะใช้จำนวนเท่าใดขึ้นอยู่กับเสียงที่ออกมาจะต้องกลมกลืนพอดี

    นอกจากจะปรับความกลมกลืนของเสียง (BALANT) ด้วยการปรับจำนวนของผู้ร้องแล้ว ยังสามารถที่จะปรับความกลมกลืนด้วยการควบคุมความดังเบาของกำลังเสียงได้อีกวิธีหนึ่ง เช่น ถ้าผู้ร้องแนวใดแนวหนึ่งมาก และมีเสียงร้องออกมาดังกว่าแนวอื่นก็แก้ไขด้วยการให้ร้องเบาลงเฉพาะแนวนั้นๆ

    ดังที่กล่าวมาแล้วว่า มนุษย์เรามีธรรมชาติการควบคุมการขับร้อง การพูด การออกเสียงมาด้วยกันทุกคน แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ธรรมชาติเหล่านั้นไม่คล่องตัวหรืออาจจะเป็นเพราะความเผลอไผลในเวลาใช้ก็ได้ จึงมีการคิดค้นเทคนิคทางการออกเสียงขับร้องขึ้นมาโดยใช้ธรรมชาติเป็นหลักดังนี้

    1. การฝึกออกเสียง (VOCALIZE) มีความสำคัญมากเพราะการออกเสียงทุกครั้งต้องมีสิ่งที่จะต้องควบคุมหลายอย่าง เช่น การใช้ลมอักขระต้องให้ถูกต้อง เพราะเมื่อขับร้องหมู่ประสานเสียงแล้วจะเกิดความพร้อมเพรียงและถูกต้อง

    2. เทคนิคทางการพูดและการแสดง การแสดงในที่นี้หมายถึงการใส่อารมณ์ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า SPEECH AND DRAMA การตีความหมายของบทเพลง ต้องใส่อารมณ์อย่างไร จึงจะถูกต้องตามความหมายของบทเพลง เช่น เพลงที่มีความหมายไปในทางเศร้า จะต้องแสดงอารมณ์ของบทเพลงอย่างไร บทเพลงที่มีเนื้อหาไปในทางที่สนุกสนานจะต้องแสดงอารมณ์อย่างไร

    3. การปั้นรูปปาก (LIP TORMATION) เป็นสิ่งสำคัญมากในการขับร้อง การร้องคำต่างๆ เช่น คำที่อยู่ในสระ อี อา โอ อู จะปั้นรูปปากอย่างไร เมื่อนำเทคนิคในการพูดและการขับร้องต่างๆ มารวมกัน ก็จะทำให้มีการขับร้องที่ถูกต้อง ไม่ผิดลักษณะต่างๆ ตามธรรมชาติ ซึ่งสำคัญมากสำหรับหมู่ขับร้องประสานเสียง เพราะเป็นการขับร้องของคนจำนวนมาก ถ้าการขับร้องไม่เหมือนกันก็จะเป็นการยากลำบากในการขับร้อง

    ที่กล่าวมาเป็นหลักใหญ่ ๆ ในการขับร้องประสานเสียง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช้หลักการและวิธีการเหมือนการขับร้องเดี่ยวนั่นเอง

    สำหรับการขับร้องประสานเสียง โดยทั่วไปจะมีหมู่ขับร้องที่ใช้อยู่คือหมู่ขับร้อง ประสานเสียง 4 แนว ได้แก่ แนว โซปราโน และแนว อาลโต ซึ่งจะเป็นผู้หญิงร้อง และ แนว เตเนอร์ กับ เบส เป็นหมู่นักขับร้องชาย ถ้าเป็นหมู่ขับร้องชายล้วน มีชื่อว่า “MALE CHOIR” ประกอบด้วยแนว เตเนอร์ 1 เตเนอร์ 2 และ แนว เบส ถ้าเป็นหมู่ขับร้องหญิงล้วน มีชื่อว่า “FEMALE CHOIR”ประกอบด้วยแนว โซปราโน เมซโซ โซปราโน และแนว อาลโต

    การขับร้องประสานเสียง 4 แนว ในวงการเพลงของเรานั้นมีอยู่ไม่กี่แห่งที่มีคณะนักร้องประสานเสียงคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร และ โรงเรียนดุริยางค์ทหารเรือ นอกนั้นเป็นการขับร้องในการปฏิบัติศาสนกิจของผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์

    ส่วนที่มีการขับร้องบันทึกเสียงออกจำหน่ายโดยทั่วไปนั้นก็มักจะประสานเพียง 2 – 3 แนวเท่านั้น มี 4 แนวอยู่บ้างก็เพียงเล็กน้อย นับว่าการขับร้องประสานเสียง 4 แนวยังไม่แพร่หลายเท่าที่ควร

    ความรู้เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง

    ในการขับร้องประสานเสียง จะมีแนวเสียงใหญ่ๆ อยู่ 4 แนวด้วยกันคือ

    1. แนวโซปราโน (SOPRANO) เป็นเสียงสูงสุด ได้แก่ เสียงของผู้ที่มีเสียงสูงและเด็กที่เสียงยังไม่แตกมีขอบเขตเสียงจาก โด-ซอล

    2. แนวอาลโต (ALTO) เป็นเสียงที่ต่ำรองลงมาจากโซปราโน ได้แก่ เสียงของผู้หญิงที่มีเสียงต่ำกว่าโซปราโน มีขอบเขตเสียงจาก ซอล-โด

    3. แนวเตเนอร์ (TENOR) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงสูง มีขอบเขตเสียงจากโด-ซอล

    4. แนวเบส (BASS) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงต่ำ มีขอบเขตเสียงจากฟา-โดโดยธรรมชาติ คนเราจะมีขอบเขตเสียงของแต่ละคนไม่เท่ากัน อย่างเช่นบางคนเสียงสูงมาก บางคนสูงไม่มาก บางคนต่ำ และบางคนก็ต่ำมากไม่เท่ากัน

    ในการขับร้องประสานเสียงจึงต้องมีการจัดขอบเขตเสียงให้ผู้ร้อง ว่าคนไหนควรจะขับร้องในแนวใด ซึ่งในทางเทคนิคแล้วจะแบ่งขอบเขตเสียงของคนเราเป็น 4 ประเภทดังกล่าวแต่ในเมืองไทยนั้นหายาก ที่จะมีผู้ร้องที่มีขอบเขตเสียงดังกล่าว ฉะนั้นจึงวัดได้เฉพาะขอบเขตเสียงที่ใกล้เคียงเท่านั้นแต่บางคนมีขอบเขตเสียงเกินกว่าที่กำหนดไว้เหมือนกัน เช่น ในแนวโซปราโน บางคนอาจจะร้องได้สูงสุดถึง โด คาบเส้นน้อยที่ 2 และ เร เหนือเส้นน้อยที่ 2 แต่นั่นก็ถือว่าเป็นความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคล

    เมื่อจัดระดับเสียงของผู้ร้องที่จะขับร้องประสานเสียงได้แล้วก็มาถึงการจัดความกลมกลืนของเสียง (BALANT) การจัดกำลังคนไม่กำหนดว่าจะต้องมีกำลังคนเท่าใด โดยให้จัดตามกำลังเสียงที่ออกมา คือ แนวโซปราโน ส่วนมากจะร้องในแนวสูงสุดของบทเพลงไม่ต้องใช้ผู้ร้องจำนวนมากเพราะเสียงที่สูงจะมีกำลังอยู่แล้ว แต่ แนวเบส เป็นแนวที่มีกำลังเสียงและระดับเสียงที่ต่ำ ควรจะเพิ่มกำลังคนโดยจะใช้จำนวนเท่าใดขึ้นอยู่กับเสียงที่ออกมาจะต้องกลมกลืนพอดี

    นอกจากจะปรับความกลมกลืนของเสียง (BALANT) ด้วยการปรับจำนวนของผู้ร้องแล้ว ยังสามารถที่จะปรับความกลมกลืนด้วยการควบคุมความดังเบาของกำลังเสียงได้อีกวิธีหนึ่ง เช่น ถ้าผู้ร้องแนวใดแนวหนึ่งมาก และมีเสียงร้องออกมาดังกว่าแนวอื่นก็แก้ไขด้วยการให้ร้องเบาลงเฉพาะแนวนั้นๆ

    ดังที่กล่าวมาแล้วว่า มนุษย์เรามีธรรมชาติการควบคุมการขับร้อง การพูด การออกเสียงมาด้วยกันทุกคน แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ธรรมชาติเหล่านั้นไม่คล่องตัวหรืออาจจะเป็นเพราะความเผลอไผลในเวลาใช้ก็ได้ จึงมีการคิดค้นเทคนิคทางการออกเสียงขับร้องขึ้นมาโดยใช้ธรรมชาติเป็นหลักดังนี้

    1. การฝึกออกเสียง (VOCALIZE) มีความสำคัญมากเพราะการออกเสียงทุกครั้งต้องมีสิ่งที่จะต้องควบคุมหลายอย่าง เช่น การใช้ลมอักขระต้องให้ถูกต้อง เพราะเมื่อขับร้องหมู่ประสานเสียงแล้วจะเกิดความพร้อมเพรียงและถูกต้อง

    2. เทคนิคทางการพูดและการแสดง การแสดงในที่นี้หมายถึงการใส่อารมณ์ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า SPEECH AND DRAMA การตีความหมายของบทเพลง ต้องใส่อารมณ์อย่างไร จึงจะถูกต้องตามความหมายของบทเพลง เช่น เพลงที่มีความหมายไปในทางเศร้า จะต้องแสดงอารมณ์ของบทเพลงอย่างไร บทเพลงที่มีเนื้อหาไปในทางที่สนุกสนานจะต้องแสดงอารมณ์อย่างไร

    3. การปั้นรูปปาก (LIP TORMATION) เป็นสิ่งสำคัญมากในการขับร้อง การร้องคำต่างๆ เช่น คำที่อยู่ในสระ อี อา โอ อู จะปั้นรูปปากอย่างไร เมื่อนำเทคนิคในการพูดและการขับร้องต่างๆ มารวมกัน ก็จะทำให้มีการขับร้องที่ถูกต้อง ไม่ผิดลักษณะต่างๆ ตามธรรมชาติ ซึ่งสำคัญมากสำหรับหมู่ขับร้องประสานเสียง เพราะเป็นการขับร้องของคนจำนวนมาก ถ้าการขับร้องไม่เหมือนกันก็จะเป็นการยากลำบากในการขับร้อง

    ที่กล่าวมาเป็นหลักใหญ่ ๆ ในการขับร้องประสานเสียง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช้หลักการและวิธีการเหมือนการขับร้องเดี่ยวนั่นเอง

    สำหรับการขับร้องประสานเสียง โดยทั่วไปจะมีหมู่ขับร้องที่ใช้อยู่คือหมู่ขับร้อง ประสานเสียง 4 แนว ได้แก่ แนว โซปราโน และแนว อาลโต ซึ่งจะเป็นผู้หญิงร้อง และ แนว เตเนอร์ กับ เบส เป็นหมู่นักขับร้องชาย ถ้าเป็นหมู่ขับร้องชายล้วน มีชื่อว่า “MALE CHOIR” ประกอบด้วยแนว เตเนอร์ 1 เตเนอร์ 2 และ แนว เบส ถ้าเป็นหมู่ขับร้องหญิงล้วน มีชื่อว่า “FEMALE CHOIR”ประกอบด้วยแนว โซปราโน เมซโซ โซปราโน และแนว อาลโต

    การขับร้องประสานเสียง 4 แนว ในวงการเพลงของเรานั้นมีอยู่ไม่กี่แห่งที่มีคณะนักร้องประสานเสียงคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร และ โรงเรียนดุริยางค์ทหารเรือ นอกนั้นเป็นการขับร้องในการปฏิบัติศาสนกิจของผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์

    ส่วนที่มีการขับร้องบันทึกเสียงออกจำหน่ายโดยทั่วไปนั้นก็มักจะประสานเพียง 2 – 3 แนวเท่านั้น มี 4 แนวอยู่บ้างก็เพียงเล็กน้อย นับว่าการขับร้องประสานเสียง 4 แนวยังไม่แพร่หลายเท่าที่ควร

  37. สมบุรณ์ จะโก๊ ชั้น ม 1/3 พูดว่า:

    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง คือ การขับร้องเพลงอีกรูปแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ขับร้องเพลงเพลงเดียวกัน โดยขับร้องคนละแนวทำนอง หรือขับร้องในแนวทำนองเดียวกัน ระดับเสียงเดียวกัน โดยขึ้นต้นร้องเพลงและจบเพลงไม่พร้อมกัน

    การฝึกร้องเพลงจำเป็นต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักทฤษฎีดังนี้
    1. ท่าทาง ไม่ว่าจะนั่งหรือยืนจะต้องอยู่ในลักษณะตรง คือ ลำตัวตรง ศีรษะตรง อกผายไหล่ผึ่ง ไม่เกร็งส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ไม่ปล่อยให้หลังค่อม ไม่ก้มหน้า ถ้ามีโน้ตเพลงให้ถืออยู่ในระดับกลาง ในขณะยืนเท้าวางห่างกันประมาณ 1 ฟุต เท้าขวาอยู่หน้าเล็กน้อยเพื่อการทรงตัว ควรยืนห่างจากไมโครโฟนประมาณ 12-15 นิ้ว ออกเสียงแต่พอควรไม่เบาหรือดังจนเกินไป
    2. การหายใจ เริ่มด้วยการยืดอกและยืนตัวตรงให้แขนแนบลำตัว ไม่ควรยกไหล่ หายใจเข้าทางปากครึ่งหนึ่ง จมูกครึ่งหนึ่งพร้อม ๆ กันจะทำให้ไม่เกิดเสียงดัง โดยกระบังลมจะทำหน้าที่ชะลอลมหายใจให้ออกช้าๆ ผู้ร้องจะต้องฝึกหัดหายใจเข้าออกอย่างรวดเร็วแล้วปล่อยออกช้า ๆ ให้ได้นานที่สุด
    แบบการฝึกหายใจ
    1) หายใจเข้าช้า ๆ พร้อมทั้งยกแขนขึ้นระดับไหล่ นับ 1 – 2 – 3 แล้วกลั้นลมหายใจชั่วขณะ แล้วนับ 4 – 5 – 6 แล้วหายใจออกช้า ๆ พร้อมทั้งลดแขนลงแนบลำตัวและนับ 7 – 8 – 9
    2) เท้าสะเอว ให้หัวแม่มืออยู่ด้านหลัง นิ้วที่เหลือวางที่หน้าท้อง บริเวณซี่โครงซี่สุดท้าย แล้วหายใจเข้าช้า ๆ ให้ลึกถึงกระบังลม กลั้นหายใจไว้ชั่วขณะ แล้วปล่อยลมออกช้า ๆ ดังนี้ คือ
    – ปล่อยลมออกช้า ๆ แล้วออกเสียง เอส (SSSS) ให้ยาวที่สุด
    – ปล่อยลมหายใจออกช้า ๆ ออกเสียง ลา โดยยึดระดับเสียงโน้ตเสียงใดเสียงหนึ่งเป็นหลัก พร้อมทั้งนับ 1 – 10 ในครั้งแรก และนับ 1 – 15, 1 – 20, 1 – 25, 1 – 30
    – ปล่อยลมหายใจเร็วเป็นเสียงคล้ายสุนัขเห่า (โฮ่ง) โดยทำเสียงสั้น ๆ ให้เสียงออกจากท้องผ่านลำคอที่เปิด ออกเสียงติดต่อกัน 3 – 5 ครั้ง (โฮ่ง –โฮ่ง –โฮ่ง)
    3) เป่าลมท้องให้อยู่ในลักษณะแขม่วเข้า และขยายออกตามจังหวะที่ครูนับ พร้อมทั้งออกเสียง ฮู ฮู ฮู ฮู ให้ระดับเสียงสูงที่สุด ขณะฝึกใหม่ ๆ ให้เป่าลม 10 ครั้ง แล้วเพิ่มเป็น 30 ครั้ง
    3. การเปิดลำคอ ขณะขับร้องเพลง ต้องใช้ระดับเสียงสูง ๆ ต่ำ ๆ ผู้ร้องจะต้องเปิดลำคอให้กว้าง และอยู่ในลักษณะเช่นเดียวกับการหาวนอน คือ
    3.1 ออกเสียงคำว่า “หาว” ครั้งแรกให้ยาว 4 จังหวะ แล้วค่อยเพิ่มเป็น 10 จังหวะ 15 จังหวะ
    3.2 พูดออกเสียงคำว่า “ผีห – ล – อ – ก” หรือ คำว่า “อึ่ – อ่ – า – ง” พูดช้า ๆ ในลักษณะยานคางและขากรรไกรตก
    4. ตำแหน่งของเสียง ระดับเสียงของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ แต่ละระดับเสียงมีตำแหน่งเสียงของความก้องกังวานต่างงกันดังนี้
    4.1 ระดับเสียงต่ำ เป็นเสียงที่กังวานทุ้มใหญ่ ตำแหน่งเสียงอยู่ที่บริเวฯทรวงอกและบริเวณลำคอ หลักการร้องเพลงเสียงต่ำ แบ่งออกเป็น 6 ข้อคือ
    1) ใช้เลียนแบบเช่นเดียวกับการพูด เสียงจะอยู่ที่ริมฝีปาก พยัญชนะและสระอยู่ที่ริมฝีปากไม่ใช่อยู่ในคอ
    2) เมื่อจะเริ่มร้องเสียงต่ำจะต้องเริ่มคิดเสียงสูงไว้
    3) ยิ่งเสียงลงต่ำช่องในปากจะเล็กลง ถ้าปากกว้างไปเสียงจะไม่มีกำลัง
    4) เวลาร้องเสียงต่ำไม่ควรร้องเสียงดัง
    5) และบังคับลมและกำลังไว้ไม่ให้พลังออกมามากพร้อมกับเสียง เพราะจะทำให้เสียงหนักเกินไป
    6) ให้เสียงต่ำมีลักษณะก้องหรือสะท้อนกังวานออกมาคล้ายเสียงฮัม
    4.2 ระดับเสียงกลาง ตำแหน่งเสียงอยู่ที่บริเวณช่องปากและโพรงจมูก ในการร้องเพลงเสียงระดับกลาง จึงต้องใช้โพรงจมูก แก้ม และช่องปากที่ขยายเสียง เพื่อให้เกิดความก้องกังวาน
    4.3 ระดับเสียงสูง เป็นเสียงที่เกิดตรงบริเวณโพรงกระโหลกศีรษะ และบริเวณหน้าผาก หลักการร้องเพลงเสียงสูง ปฏิบัติได้ดังนี้ คือ
    1) ใช้สมองหรือใช้ความคิดช่วยในการร้องเสียงสูง เช่น จะร้องเสียงซอลสูงให้สมมุติว่าจะร้องเสียงสูงเท่ากับที่เคยร้องมาก่อน
    2) การร้องเสียงสูงต้องใช้พยัญชนะเร็วและชัด โดยใช้พลังของลมจากพยัญชนะถึงสระ
    3) การร้องเสียงสูงให้ปล่อยเสียงออกมาตามสบายโดยไม่ต้องบังคับ
    4) เมื่อร้องเสียงสูงให้ปล่อยขากรรไกร ปล่อยลิ้นตามสบาย อ้าปากกว้างไม่ต้องเงยหน้าและไม่เกร็ง
    5) ใช้พลังของลมจากกล้ามเนื้อที่หน้าท้อง เอวและสะโพก แต่ใช้กล้ามเนื้อที่คอเปล่งหรือบังคับเสียง
    5. การออกเสียงของสระ สระพื้นฐานที่ใช้ในการฝึกขับร้องเพลงสากล คือการออกเสียงตาม อักษรโฟเนติคส์ หรือ I.P.A (International Phonetic Alphabet) 5 ตัว คือ อา เอ อี โอ และ อู การฝึกเบื้องต้นฝึกได้ดังนี้ คือ
    5.1 ออกเสียงสระให้ตรงตัว อย่าทำเสียงอื่นปนหรืออย่าออกเสียงผิด ๆ
    5.2 ในการขับร้องหมู่ ผู้ร้องทุกคนควรออกเสียงสระให้เหมือนกัน
    5.3 สำหรับคำที่มีสระผสม ให้ลากเสียงเน้นสระเพียงตัวเดียว เช่น คำว่า “ไฟ” ถ้าออกเสียงคำนี้ช้า ๆ จะมีสระ 2 ตัว คือ “อา” กับ “อี” ดังนั้น “ไฟ” = ฟา + อี
    5.4 ร้องต่อสระคำหนึ่งไปยังอีกคำหนึ่งให้ต่อเนื่องกัน อย่าร้องขาดเป็นห้วง ๆ
    6. การออกเสียงพยัญชนะ ผู้ร้องอาจจะปฏิบัติดังนี้คือ พยายามร้องสระให้ยาวที่สุดและร้องพยัญชนะให้สั้นที่สุดแต่ชัดเจน คือ
    6.1 คำใดขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ควรร้องพยัญชนะตรงจังหวะ อย่าร้องช้ากว่าจังหวะ
    6.2 ควรจะเปล่งเสียงพยัญชนะ เช่น เชอะ ฟัก ก่อนจังหวะของมันเล็กน้อยเมื่อจังหวะของมันมาถึงเสียงที่ร้องจะได้ตรงจังหวะพอดี แล้วร้องสระของคำนั้นทีหลัง (พยัชนะจะออกเสียงจากไรฟันและช่องข้างลิ้น)
    6.3 เนื่องจากสระเป็นส่วนสำคัญยิ่งในการร้องเพลง ควรร้องพยัญชนะแต่ละตัวให้สั้น
    6.4 เปล่งเสียงพยัญชนะทางส่วนหน้าของปาก เพราะสะดวกในการเปล่งเสียงมากกว่าที่อื่น และเพื่อให้ชัดเจนอย่าออกเสียงพยัญชนะจากโคนลิ้น
    6.5 ออกเสียงพยัญชนะทุกตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่พยัญชนะเป็นตัวเดียวกันสองตัว เช่น หนักแน่น
    7. การจับเสียงและเข้าจังหวะ ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
    7.1 นึกเสียงที่จะร้องในใจ หมายถึงระดับเสียง เสียงสระความดังเบา
    7.2 หายใจเข้าลึก ๆ ช้า ๆ เตรียมพร้อมที่จะเปล่งเสียงออกมา
    7.3 ริมฝีปาก แก้ม และขากรรไกรปล่อยตามสบาย
    7.4 ลิ้นไม่กระดกหรือเกร็ง ปล่อยตามสบาย ให้ปลายลิ้นแตะกับฐานฟันล่างเล็กน้อย
    7.5 การส่งลม การปรับหลอดเสียง การบังคับปากและการร้องจะเกิดขึ้นวินาทีเดียวกัน
    8. คุณภาพของเสียง ขึ้นอยู่กับหลอดเสียง กล่องเสียง ลำคอ กระพุ้งปาก ลิ้นและศรีษะ เมื่อสูดอากาศออก อากาศจะผ่านหลอดเสียงทำให้หลอดเสียงสั่นเกิดเป็นเสียงขึ้นมา และเสียงก็จะผ่านลำคอและปาก ดังนั้นทั้งในปากและในศรีษะจะทำหน้าที่เป็นช่องขยายเสียง ในขณะที่ร้องเพลงจะรู้สึกเสียงพุ่งไปข้างหน้า และมี “จุด” ที่เสียงรวมกันอยู่ที่หนึ่งที่ใดบนใบหน้า พยายามให้ “จุด” นี้ อยู่ที่แถวฟันเหนือปลายลิ้น ไม่ควรให้ “จุด” 9. อักขระ เป็นสิ่งสำคัญในการร้องเพลง โดยเฉพาะ คำควบกล้ำ คำสั้นยาว แต่ละคำล้วนมีความหมาย เพราะบทเพลงแต่ละเพลงที่ถ่ายทอดจากจินตนาการของ นักแต่งเพลง นี้อยู่ในลำคอหรือโคนลิ้น เพราะจะทำให้กล้ามเนื้อแถวนั้นเกร็งและเสียงที่ออกมาจะไม่น่าฟัง การร้องเพลงควรคิดถึงบรรยากาศที่สวยงามเบิกบานใจ อย่าเกร็งคอหรือหน้า อย่าเกร็งลิ้นหรือกระดกลิ้นขึ้นเพราะจะไปบังลำคอ ทำให้เสียงที่ออกมาเกร็ง ฟังไม่ชัดและ ไม่ไพเราะ คือเสียงไม่มีคุณภาพนั่นเอง

    ความรู้เรื่องการร้องเพลงประสานเสียงที่กล่าวมานี้เป็นเพียงหลักที่ต้องนำไปฝึกหัดและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการขับร้องเพลงประสานเสียงเท่านั้น

  38. ด.ญ. มณีนุช คำจุ่ม เลขที่30 ชั้น ม.1/1 พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

  39. นิรนาม พูดว่า:

    ด.ญนาบี ลีจะซี ม.1/2 1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง

  40. นิรนาม พูดว่า:

    ยังไม่จบ
    การขับร้องประสานเสียง คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลงมากกว่าเนื้อทำนองหนึ่งแนว โดยจะมีแนวทำนองหลักหนึ่งแนว ส่วนทำนองอื่น ๆ จะเป็นแนวประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียงแบบต่าง ๆ

    1. Chant เป็นการประสานแบบง่าย ๆ เพียงแต่ใส่แนวประสานเสียงซึ่งเป็นแนวทำนองที่มีระดับเสียงต่ำกว่าแนวทำนองหลักแต่ใช้ระดับเสียงไม่มากนัก ปกติจะประมาณ 2–3 ระดับเสียง โดยร้องซ้ำ ๆ ทั้งเพลง เรียกว่า ออสตินาโต (Ostinato)

    2. Echo เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเพลงเดียวกันแต่เริ่มต้นขับร้องไม่พร้อมกัน แนวเสียงแรกหรือกลุ่มแรกจะเป็นผู้นำ ส่วนเสียงที่สองจะเป็นเสียงสะท้อนของเสียงแรก

    3. Descant เป็นการประสานเสียงที่ใช้แนวประสานเสียงอยู่เหนือแนวทำนองหลัก มีลักษณะคล้าย ๆ chant เพียงแต่ chant แนวประสานอยู่ต่ำกว่าแนวทำนองหลัก

    4. Canon เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเดียวกันตั้งแต่เริ่มต้น แต่ขับร้องไม่พร้อมกันมีลักษณะคล้ายกับ Echo แต่มีความยาวกว่าและเสียงของโน้ตสุดท้ายไม่จำเป็นต้องพอดีกัน จึงทำให้เสียงของแต่ละแนวสอดประสานทับกัน การขับร้องประสานเสียงประเภทนี้สามารถร้องได้มากกว่าสองแนว

    5. Part-singing เป็นการขับร้องที่แต่ละแนวมีทำนองเพลงเฉพาะของตนเองอย่างสมบูรณ์ การขับร้องแบบนี้สามารถขับร้องได้ตั้งแต่สองแนวไปจนถึงสี่แนว

    ด.ญนาฟะ มูเซอ ม.1/2

  41. นิรนาม พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย
    ด.ญชนัญญา แซ่เจิง ม.1/5

  42. นิรนาม พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลงมากกว่าเนื้อทำนองหนึ่งแนว โดยจะมีแนวทำนองหลักหนึ่งแนว ส่วนทำนองอื่น ๆ จะเป็นแนวประสานเสียง

    การขับร้องประสานเสียงแบบต่าง ๆ

    1. Chant เป็นการประสานแบบง่าย ๆ เพียงแต่ใส่แนวประสานเสียงซึ่งเป็นแนวทำนองที่มีระดับเสียงต่ำกว่าแนวทำนองหลักแต่ใช้ระดับเสียงไม่มากนัก ปกติจะประมาณ 2–3 ระดับเสียง โดยร้องซ้ำ ๆ ทั้งเพลง เรียกว่า ออสตินาโต (Ostinato)

    2. Echo เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเพลงเดียวกันแต่เริ่มต้นขับร้องไม่พร้อมกัน แนวเสียงแรกหรือกลุ่มแรกจะเป็นผู้นำ ส่วนเสียงที่สองจะเป็นเสียงสะท้อนของเสียงแรก

    3. Descant เป็นการประสานเสียงที่ใช้แนวประสานเสียงอยู่เหนือแนวทำนองหลัก มีลักษณะคล้าย ๆ chant เพียงแต่ chant แนวประสานอยู่ต่ำกว่าแนวทำนองหลัก

    4. Canon เป็นการขับร้องประสานเสียงที่ใช้ทำนองเดียวกันตั้งแต่เริ่มต้น แต่ขับร้องไม่พร้อมกันมีลักษณะคล้ายกับ Echo แต่มีความยาวกว่าและเสียงของโน้ตสุดท้ายไม่จำเป็นต้องพอดีกัน จึงทำให้เสียงของแต่ละแนวสอดประสานทับกัน การขับร้องประสานเสียงประเภทนี้สามารถร้องได้มากกว่าสองแนว

    5. Part-singing เป็นการขับร้องที่แต่ละแนวมีทำนองเพลงเฉพาะของตนเองอย่างสมบูรณ์ การขับร้องแบบนี้สามารถขับร้องได้ตั้งแต่สองแนวไปจนถึงสี่แนว

    ด.ญนาฟะ มูเซอ ม.1/2

  43. ด.ญ. พรพิมล หน่อคำ เลขที่ 20 ม.1/3 พูดว่า:

    การขับร้องประสานเสียง หมายถึง การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่สองคนขึ้นไป อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือลงจบไม่พร้อมกัน อาจร้องพร้อมกันแต่มีทำนองเพลงหลายทำนองหรือหลายแนวโดยมีแนวใดเป็นทำนองหลัก ส่วนแนวอื่น ๆ เป็นทำนองประสานเสียง

    เสียงประสาน คือ กลุ่มเสียงตั้งแต่สองขึ้นไปเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทำให้เสียงกลมกลืนฟังสนิทหู

    รูปแบบของการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียงแบ่งลักษณะการขับร้องได้หลายแบบ ดังนี้

    1. การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม

    2. การขับร้องประสานเสียง 2 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีทำนองเพลง 2 ทำนอง ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีทำนองหลักทำนองหนึ่ง ส่วนอีกทำนองหนึ่งเป็นทำนองประสาน

    3. การขับร้องประสานเสียง 3 แนว คือ การขับร้องที่มีแนวทำนองเพลง 3 แนว ร้องไปพร้อม ๆ กัน โดยมีแนวทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลัก ส่วนอีก 2 แนวเป็นทำนองประสาน ซึ่งทำนองประสานทั้ง 2 แนว อาจมีทำนองแตกต่างกันไป

    4. การขับร้องประสานเสียง 4 แนว คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน 4 ทำนอง โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนอีก 3 ทำนอง เป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

    ทำนองเพลงแต่ละแนวที่ใช้ขับร้องต้องประสานสอดคล้องกันและกัน ตามแนวสูงต่ำที่กำหนด โดยยืดทำนองหนึ่งเป็นหลัก

    การขับร้องประสานเสียงอาจขับร้องแนวละคนหรือหลายคนก็ได้ เรียกว่า “คอรัส” (Chorus) ส่วนนักร้องประจำโบสถ์ เรียกว่า “ไควร์” (Choir) หมู่ขับร้องประสานเสียงประกอบด้วยชายล้วนหญิงล้วนหรือทั้งชายหญิงก็ได้

    การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง
    การขับร้องประสานเสียง แบ่งระดับเสียงของผู้ขับร้องเป็นกี่กลุ่มหรือกี่แนวก็ได้ แต่ที่ถือว่าเป็นมาตรฐานและเป็นที่นิยมกันทั่วไป คือ แบ่งเป็น 4 แนว ดังนี้

    1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง

    2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง

    3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย

    4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

  44. เด็กหญิง ฟองแสง แสงอ้าย ม. 1\2 เลขที่ 44 พูดว่า:

    การขับร้องเพลงไทย
    วันที่ 02/09/2011 20:15:31

    การขับร้องเพลงไทย

    การขับร้องเพลงไทย เป็นศิลปะพิเศษอย่างหนึ่งที่มีกลวิธี ชั้นเชิงลีลามากมาย ครูและอาจารย์แต่ละท่าน แต่ละสำนัก แต่ละสถาบันย่อมมีกลเม็ดวิธีที่แตกต่างกัน การขับร้องเพลงไทยที่เราได้ยินอยู่ทั่วไปบางคนเข้าใจว่าไม่ยาก ซึ่งก็เป็นความจริงอยู่บ้าง หากฟังเพียงผิวเผินจะรู้สึกว่ามีสำเนียงคล้ายกันหมด แต่ความจริงแล้ว การขับร้องเพลงไทยเป็นศิลปะที่มีความยากและง่ายรวมกันอยู่ ศิลปะประเภทอื่น ๆ มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยเข้าร่วมเสริมมากมาย แต่การขับร้องไม่มีอุปกรณ์ที่เป็นชิ้นส่วนให้สัมผัสได้ อุปกรณ์ที่สำคัญของการขับร้องล้วนแต่เป็นสิ่งที่อยู่ในตัวผู้ขับร้องเองทั้งสิ้น นับเป็นศิลปะที่ละเอียดอ่อนมองไม่เห็นด้วยตา ปราศจากรูปร่างตัวตนให้สัมผัส แต่สิ่งที่แสดงออกให้รู้ว่าอยู่ ณ ที่ใด เป็นอย่างไร คือ เสียง การจะเป็นผู้ขับร้องที่ดีได้นอกจากธรรมชาติจะเอื้ออำนวยแล้ว จำเป็นต้องมีพื้นฐานที่ถูกต้องด้วย

    การขับร้องประกอบดนตรี

    การขับร้องประกอบดนตรี คือ การร้องส่งเข้ากับวงดนตรีประเภทต่าง ๆ ได้แก่ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี การขับร้องประเภทนี้ผู้ขับร้องจะต้องยึดเสียงดนตรีเป็นหลัก จะขึ้นหรือลงเสียงร้องตามสบายไม่ได้ จะต้องเทียบเสียงให้เข้ากับเสียงหรือทางของเสียงดนตรี ในการขับร้องประกอบดนตรีแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ

    1. การร้องรับ

    การร้องรับ คือ การขับร้องที่สลับกับการบรรเลงของวงดนตรี ผู้ร้องร้องจบหนึ่งท่อนแล้ว ดนตรีก็จะบรรเลงรับไปจนจบท่อน ผู้ร้องก็จะร้องท่อนต่อไป เนื้อร้องจบดนตรีก็จะบรรเลงสลับอีก ทำอย่างนี้ไปจนจบเพลง การขับร้องเพลงประเภทนี้ ได้แก่ การขับร้องเพลงสามชั้น หรือการขับร้องเพลงเถา เป็นต้น

    2. การขับร้องสอดดนตรี

    การขับร้องสอดดนตรี คือ การขับร้องที่มีดนตรีเข้ามาสอดแทรกในระหว่างการขับร้องเพื่อให้เกิดความไพเราะยิ่งขึ้น เช่น การขับร้องเพลงโสมส่องแสงท่อน 3 หรือเพลงเขมรไทรโยค เป็นต้น

    3. การขับร้องพร้อมกับดนตรี

    การขับร้องพร้อมกับดนตรีคือการขับร้องที่ร้องไปพร้อม ๆกับการบรรเลงดนตรีซึ่งแบ่งการขับร้องออกเป็น 4 ลักษณะ คือ

    3.1 คลอ คือ การขับร้องที่ร้องไปพร้อม ๆ กับการบรรเลงดนตรีซึ่งใช้ทำนองเดียวกัน ดนตรีจะบรรเลงทางเดียวกับทางร้อง เช่น การใช้ซอสามสายสีคลอไปกับเสียงร้อง เป็นต้น

    3.2 เคล้า คือ การขับร้องไปพร้อม ๆกับการบรรเลงดนตรีในเพลงเดียวกันแต่ต่างทำนองกัน คือ ร้องก็ดำเนินไปทางร้อง ส่วนดนตรีกับบรรเลงทางดนตรี ทั้งทางร้องและทางบรรเลงจะยึดถือจังหวะตกเดียวกัน

    3.3 ลำลอง คือ การขับร้องและการบรรเลงดนตรีไปพร้อม ๆ กัน แต่ไม่ต้องเป็นเพลงเดียวเสียงที่ตกจังหวะก็ไม่ต้องเป็นเสียงเดียวกันบางทีอาจจะไม่ถือจังหวะของกันและกันก็ได้สิ่งที่ต้องยึดถือก็คือ เสียงร้องและเสียงที่บรรเลงต้องเป็นระดับเสียงเดียวกัน ทำนองเพลงมีความสัมพันธ์กลมกลืนกัน

    3.4 ประสาน คือ การขับร้องหรือการบรรเลงในบทเพลงเดียวกันพร้อมๆ กัน อาจเป็นเสียงร้องกับเสียงร้อง เสียงร้องกับเครื่องดนตรี หรือเครื่องดนตรีกับเครื่องดนตรีก็ได้ เสียงร้องหรือเสียงเครื่องดนตรีแยกกันเป็นคนละทางแต่อาจมีเสียงที่ตกเสียงเดียวกันข้างหรือคนละเสียงบ้าง เช่นเดียวกับหลักการประสานเสียงของดนตรีสากล

    การขับร้องประกอบการฟ้อนรำ

    การขับร้องประกอบการฟ้อนรำ คือ การขับร้องที่ใช้ประกอบการแสดงฟ้อนรำประเภทต่าง ๆ ผู้ร้องต้องร้องให้เหมาะสมกับผู้ฟ้อนรำหรือบทบาทของตัวแสดงต้องร้องให้สอดคล้องกับอารมณ์ของผู้แสดง เช่น เมื่อบทละครถึงบทโศกการขับร้องก็ต้องดำเนินไปอย่างช้า ๆ เมื่อถึงบทโกรธก็ต้องร้องให้จังหวะกระชั้นแสดงอารมณ์โกรธออกมาทางน้ำเสียงเพื่อให้เหมาะสมกับบทบาทของตัวละครด้ง
    1 ได้ยินถึงความสัมพันธ์ของเสียงและระหว่างเสียงแนวต่างๆ
    2ได้ยินความสมดุลของเสียงแนวต่างๆ
    3ได้ยินได้รู้สึกรับรู้ถึงความกลมกลืนของเสียงแนวต่างๆ
    4ได้ยินเสียงร้องแนวของตนและเสียงร้องแนวอื่นของเพื่อนที่ร้อง
    เด็กหญิง ฟองแสง แสงอ้าย ม. 1\2 เลขที่ 44

  45. เด็กหญิง เสาร์ บุญมา ม. 1/2 เลขที่ 47 พูดว่า:

    ความรู้เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง

    ในการขับร้องประสานเสียง จะมีแนวเสียงใหญ่ๆ อยู่ 4 แนวด้วยกันคือ

    1. แนวโซปราโน (SOPRANO) เป็นเสียงสูงสุด ได้แก่ เสียงของผู้ที่มีเสียงสูงและเด็กที่เสียงยังไม่แตกมีขอบเขตเสียงจาก โด-ซอล

    2. แนวอาลโต (ALTO) เป็นเสียงที่ต่ำรองลงมาจากโซปราโน ได้แก่ เสียงของผู้หญิงที่มีเสียงต่ำกว่าโซปราโน มีขอบเขตเสียงจาก ซอล-โด

    3. แนวเตเนอร์ (TENOR) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงสูง มีขอบเขตเสียงจากโด-ซอล

    4. แนวเบส (BASS) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงต่ำ มีขอบเขตเสียงจากฟา-โดโดยธรรมชาติ คนเราจะมีขอบเขตเสียงของแต่ละคนไม่เท่ากัน อย่างเช่นบางคนเสียงสูงมาก บางคนสูงไม่มาก บางคนต่ำ และบางคนก็ต่ำมากไม่เท่ากัน

    ในการขับร้องประสานเสียงจึงต้องมีการจัดขอบเขตเสียงให้ผู้ร้อง ว่าคนไหนควรจะขับร้องในแนวใด ซึ่งในทางเทคนิคแล้วจะแบ่งขอบเขตเสียงของคนเราเป็น 4 ประเภทดังกล่าวแต่ในเมืองไทยนั้นหายาก ที่จะมีผู้ร้องที่มีขอบเขตเสียงดังกล่าว ฉะนั้นจึงวัดได้เฉพาะขอบเขตเสียงที่ใกล้เคียงเท่านั้นแต่บางคนมีขอบเขตเสียงเกินกว่าที่กำหนดไว้เหมือนกัน เช่น ในแนวโซปราโน บางคนอาจจะร้องได้สูงสุดถึง โด คาบเส้นน้อยที่ 2 และ เร เหนือเส้นน้อยที่ 2 แต่นั่นก็ถือว่าเป็นความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคล

    เมื่อจัดระดับเสียงของผู้ร้องที่จะขับร้องประสานเสียงได้แล้วก็มาถึงการจัดความกลมกลืนของเสียง (BALANT) การจัดกำลังคนไม่กำหนดว่าจะต้องมีกำลังคนเท่าใด โดยให้จัดตามกำลังเสียงที่ออกมา คือ แนวโซปราโน ส่วนมากจะร้องในแนวสูงสุดของบทเพลงไม่ต้องใช้ผู้ร้องจำนวนมากเพราะเสียงที่สูงจะมีกำลังอยู่แล้ว แต่ แนวเบส เป็นแนวที่มีกำลังเสียงและระดับเสียงที่ต่ำ ควรจะเพิ่มกำลังคนโดยจะใช้จำนวนเท่าใดขึ้นอยู่กับเสียงที่ออกมาจะต้องกลมกลืนพอดี

    นอกจากจะปรับความกลมกลืนของเสียง (BALANT) ด้วยการปรับจำนวนของผู้ร้องแล้ว ยังสามารถที่จะปรับความกลมกลืนด้วยการควบคุมความดังเบาของกำลังเสียงได้อีกวิธีหนึ่ง เช่น ถ้าผู้ร้องแนวใดแนวหนึ่งมาก และมีเสียงร้องออกมาดังกว่าแนวอื่นก็แก้ไขด้วยการให้ร้องเบาลงเฉพาะแนวนั้นๆ

    ดังที่กล่าวมาแล้วว่า มนุษย์เรามีธรรมชาติการควบคุมการขับร้อง การพูด การออกเสียงมาด้วยกันทุกคน แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ธรรมชาติเหล่านั้นไม่คล่องตัวหรืออาจจะเป็นเพราะความเผลอไผลในเวลาใช้ก็ได้ จึงมีการคิดค้นเทคนิคทางการออกเสียงขับร้องขึ้นมาโดยใช้ธรรมชาติเป็นหลักดังนี้

    1. การฝึกออกเสียง (VOCALIZE) มีความสำคัญมากเพราะการออกเสียงทุกครั้งต้องมีสิ่งที่จะต้องควบคุมหลายอย่าง เช่น การใช้ลมอักขระต้องให้ถูกต้อง เพราะเมื่อขับร้องหมู่ประสานเสียงแล้วจะเกิดความพร้อมเพรียงและถูกต้อง

    2. เทคนิคทางการพูดและการแสดง การแสดงในที่นี้หมายถึงการใส่อารมณ์ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า SPEECH AND DRAMA การตีความหมายของบทเพลง ต้องใส่อารมณ์อย่างไร จึงจะถูกต้องตามความหมายของบทเพลง เช่น เพลงที่มีความหมายไปในทางเศร้า จะต้องแสดงอารมณ์ของบทเพลงอย่างไร บทเพลงที่มีเนื้อหาไปในทางที่สนุกสนานจะต้องแสดงอารมณ์อย่างไร

    3. การปั้นรูปปาก (LIP TORMATION) เป็นสิ่งสำคัญมากในการขับร้อง การร้องคำต่างๆ เช่น คำที่อยู่ในสระ อี อา โอ อู จะปั้นรูปปากอย่างไร เมื่อนำเทคนิคในการพูดและการขับร้องต่างๆ มารวมกัน ก็จะทำให้มีการขับร้องที่ถูกต้อง ไม่ผิดลักษณะต่างๆ ตามธรรมชาติ ซึ่งสำคัญมากสำหรับหมู่ขับร้องประสานเสียง เพราะเป็นการขับร้องของคนจำนวนมาก ถ้าการขับร้องไม่เหมือนกันก็จะเป็นการยากลำบากในการขับร้อง

    ที่กล่าวมาเป็นหลักใหญ่ ๆ ในการขับร้องประสานเสียง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช้หลักการและวิธีการเหมือนการขับร้องเดี่ยวนั่นเอง

    สำหรับการขับร้องประสานเสียง โดยทั่วไปจะมีหมู่ขับร้องที่ใช้อยู่คือหมู่ขับร้อง ประสานเสียง 4 แนว ได้แก่ แนว โซปราโน และแนว อาลโต ซึ่งจะเป็นผู้หญิงร้อง และ แนว เตเนอร์ กับ เบส เป็นหมู่นักขับร้องชาย ถ้าเป็นหมู่ขับร้องชายล้วน มีชื่อว่า “MALE CHOIR” ประกอบด้วยแนว เตเนอร์ 1 เตเนอร์ 2 และ แนว เบส ถ้าเป็นหมู่ขับร้องหญิงล้วน มีชื่อว่า “FEMALE CHOIR”ประกอบด้วยแนว โซปราโน เมซโซ โซปราโน และแนว อาลโต

    การขับร้องประสานเสียง 4 แนว ในวงการเพลงของเรานั้นมีอยู่ไม่กี่แห่งที่มีคณะนักร้องประสานเสียงคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร และ โรงเรียนดุริยางค์ทหารเรือ นอกนั้นเป็นการขับร้องในการปฏิบัติศาสนกิจของผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์

    ส่วนที่มีการขับร้องบันทึกเสียงออกจำหน่ายโดยทั่วไปนั้นก็มักจะประสานเพียง 2 – 3 แนวเท่านั้น มี 4 แนวอยู่บ้างก็เพียงเล็กน้อย นับว่าการขับร้องประสานเสียง 4 แนวยังไม่แพร่หลายเท่าที่ควร

    1 ได้ยินถึงความสัมพันธ์ของเสียงและระหว่างเสียงแนวต่างๆ
    2 ได้ยินความสมดุลของเสียงแนวต่างๆ
    3 ได้ยินได้รู้สึกรับรู้ถึงความกลมกลืนของเสียงแนวต่างๆ
    4 ได้ยินเสียงร้องแนวของตนและเสียงร้องแนวอื่นของเพื่่่่่อนที่ร้อง
    เด็กหญิง เสาร์ บุญมา ม.1/2 เลขที่ 47

  46. เด็กหญิง ปิยะฉัตร เเซ่หย่าง ม.1/3 พูดว่า:

    ในการขับร้องประสานเสียง จะมีแนวเสียงใหญ่ๆ อยู่ 4 แนวด้วยกันคือ

    1. แนวโซปราโน (SOPRANO) เป็นเสียงสูงสุด ได้แก่ เสียงของผู้ที่มีเสียงสูงและเด็กที่เสียงยังไม่แตกมีขอบเขตเสียงจาก โด-ซอล

    2. แนวอาลโต (ALTO) เป็นเสียงที่ต่ำรองลงมาจากโซปราโน ได้แก่ เสียงของผู้หญิงที่มีเสียงต่ำกว่าโซปราโน มีขอบเขตเสียงจาก ซอล-โด

    3. แนวเตเนอร์ (TENOR) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงสูง มีขอบเขตเสียงจากโด-ซอล

    4. แนวเบส (BASS) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงต่ำ มีขอบเขตเสียงจากฟา-โดโดยธรรมชาติ คนเราจะมีขอบเขตเสียงของแต่ละคนไม่เท่ากัน อย่างเช่นบางคนเสียงสูงมาก บางคนสูงไม่มาก บางคนต่ำ และบางคนก็ต่ำมากไม่เท่ากัน

    ในการขับร้องประสานเสียงจึงต้องมีการจัดขอบเขตเสียงให้ผู้ร้อง ว่าคนไหนควรจะขับร้องในแนวใด ซึ่งในทางเทคนิคแล้วจะแบ่งขอบเขตเสียงของคนเราเป็น 4 ประเภทดังกล่าวแต่ในเมืองไทยนั้นหายาก ที่จะมีผู้ร้องที่มีขอบเขตเสียงดังกล่าว ฉะนั้นจึงวัดได้เฉพาะขอบเขตเสียงที่ใกล้เคียงเท่านั้นแต่บางคนมีขอบเขตเสียงเกินกว่าที่กำหนดไว้เหมือนกัน

    เมื่อจัดระดับเสียงของผู้ร้องที่จะขับร้องประสานเสียงได้แล้วก็มาถึงการจัดความกลมกลืนของเสียง (BALANT) การจัดกำลังคนไม่กำหนดว่าจะต้องมีกำลังคนเท่าใด โดยให้จัดตามกำลังเสียงที่ออกมา คือ แนวโซปราโน ส่วนมากจะร้องในแนวสูงสุดของบทเพลงไม่ต้องใช้ผู้ร้องจำนวนมากเพราะเสียงที่สูงจะมีกำลังอยู่แล้ว แต่ แนวเบส เป็นแนวที่มีกำลังเสียงและระดับเสียงที่ต่ำ ควรจะเพิ่มกำลังคนโดยจะใช้จำนวนเท่าใดขึ้นอยู่กับเสียงที่ออกมาจะต้องกลมกลืนพอดี

    นอกจากจะปรับความกลมกลืนของเสียง (BALANT) ด้วยการปรับจำนวนของผู้ร้องแล้ว ยังสามารถที่จะปรับความกลมกลืนด้วยการควบคุมความดังเบาของกำลังเสียงได้อีกวิธีหนึ่ง เช่น ถ้าผู้ร้องแนวใดแนวหนึ่งมาก และมีเสียงร้องออกมาดังกว่าแนวอื่นก็แก้ไขด้วยการให้ร้องเบาลงเฉพาะแนวนั้นๆ

    ดังที่กล่าวมาแล้วว่า มนุษย์เรามีธรรมชาติการควบคุมการขับร้อง การพูด การออกเสียงมาด้วยกันทุกคน แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ธรรมชาติเหล่านั้นไม่คล่องตัวหรืออาจจะเป็นเพราะความเผลอไผลในเวลาใช้ก็ได้ จึงมีการคิดค้นเทคนิคทางการออกเสียงขับร้องขึ้นมาโดยใช้ธรรมชาติเป็นหลักดังนี้

    1. การฝึกออกเสียง (VOCALIZE) มีความสำคัญมากเพราะการออกเสียงทุกครั้งต้องมีสิ่งที่จะต้องควบคุมหลายอย่าง เช่น การใช้ลมอักขระต้องให้ถูกต้อง เพราะเมื่อขับร้องหมู่ประสานเสียงแล้วจะเกิดความพร้อมเพรียงและถูกต้อง

    2. เทคนิคทางการพูดและการแสดง การแสดงในที่นี้หมายถึงการใส่อารมณ์ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า SPEECH AND DRAMA การตีความหมายของบทเพลง ต้องใส่อารมณ์อย่างไร จึงจะถูกต้องตามความหมายของบทเพลง เช่น เพลงที่มีความหมายไปในทางเศร้า จะต้องแสดงอารมณ์ของบทเพลงอย่างไร บทเพลงที่มีเนื้อหาไปในทางที่สนุกสนานจะต้องแสดงอารมณ์อย่างไร

    3. การปั้นรูปปาก (LIP TORMATION) เป็นสิ่งสำคัญมากในการขับร้อง การร้องคำต่างๆ เช่น คำที่อยู่ในสระ อี อา โอ อู จะปั้นรูปปากอย่างไร เมื่อนำเทคนิคในการพูดและการขับร้องต่างๆ มารวมกัน ก็จะทำให้มีการขับร้องที่ถูกต้อง ไม่ผิดลักษณะต่างๆ ตามธรรมชาติ ซึ่งสำคัญมากสำหรับหมู่ขับร้องประสานเสียง เพราะเป็นการขับร้องของคนจำนวนมาก ถ้าการขับร้องไม่เหมือนกันก็จะเป็นการยากลำบากในการขับร้อง

    ที่กล่าวมาเป็นหลักใหญ่ ๆ ในการขับร้องประสานเสียง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช้หลักการและวิธีการเหมือนการขับร้องเดี่ยวนั่นเอง

    สำหรับการขับร้องประสานเสียง โดยทั่วไปจะมีหมู่ขับร้องที่ใช้อยู่คือหมู่ขับร้อง ประสานเสียง 4 แนว ได้แก่ แนว โซปราโน และแนว อาลโต ซึ่งจะเป็นผู้หญิงร้อง และ แนว เตเนอร์ กับ เบส เป็นหมู่นักขับร้องชาย ถ้าเป็นหมู่ขับร้องชายล้วน มีชื่อว่า “MALE CHOIR” ประกอบด้วยแนว เตเนอร์ 1 เตเนอร์ 2 และ แนว เบส ถ้าเป็นหมู่ขับร้องหญิงล้วน มีชื่อว่า “FEMALE CHOIR”ประกอบด้วยแนว โซปราโน เมซโซ โซปราโน และแนว อาลโต

    การขับร้องประสานเสียง 4 แนว ในวงการเพลงของเรานั้นมีอยู่ไม่กี่แห่งที่มีคณะนักร้องประสานเสียงคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร และ โรงเรียนดุริยางค์ทหารเรือ นอกนั้นเป็นการขับร้องในการปฏิบัติศาสนกิจของผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์

    ส่วนที่มีการขับร้องบันทึกเสียงออกจำหน่ายโดยทั่วไปนั้นก็มักจะประสานเพียง 2 – 3 แนวเท่านั้น มี 4 แนวอยู่บ้างก็เพียงเล็กน้อย นับว่าการขับร้องประสานเสียง 4 แนวยังไม่แพร่หลายเท่าที่ควร

  47. เด็กหญิง ปิยะฉัตร เเซ่หย่าง ม.1/3 พูดว่า:

    การขับร้องเพลงของนักร้อง หรือนักร้องประสานเสียง ควรพัฒนาเทคนิคการขับร้องเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่การวางท่าทางที่ถูกต้อง การใช้ลมอย่างสมบูรณ์ การเปล่งเสียงที่ถูกวิธี ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ร้องมีเทคนิคการร้องที่ดี ป้องกันการร้องเพี้ยน ซึ่งจะทำให้เจ็บคอ เจ็บกล้ามเนื้อ จนไปถึงไม่สามารถร้องเพลงได้

    วาทยากร (Conductor) ในที่นี้จะหมายถึงผู้อำนวยเพลงของคณะนักร้องประสานเสียง ซึ่งเป็นผู้ฝึกสอนคณะนักร้องประสานเสียง โดยใช้เวลาการฝึกซ้อม สม่ำเสมอ ปูพื้นฐานการร้องเพลงที่ถูกวิธี การเลือกเพลงร้องที่เหมาะสม ดูช่วงกว้างของระดับเสียงว่าเหมาะสมกับคณะนักร้องหรือไม่ จังหวะ และความเข้มของเสียงที่พอดี และองค์ประกอบอื่นๆ ให้เหมาะสมกับคณะนักร้องประสานเสียงที่สุด

    การฝึกซ้อม การสร้างเสียงประสาน ขั้นตอนการขับร้องเดี่ยว จะแตกต่างกับการฝึกนักร้องประสานเสียง แต่ยังคงใช้หลักการฝึกร้องเพลงเหมือนกัน เพื่อพัฒนาเทคนิคการขับร้องและสร้างเสียงที่มีคุณภาพ ในการขับร้องประสานเสียงนั้น นักร้องต้องพยายามร้องให้เสียงกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นั่นหมายถึงทุกคนจะต้องเปล่งเสียงพยัญชนะสระอย่างพร้อมเพรียงกัน ด้วยเทคนิคการร้องเหมือนกัน การสื่อความหมายของเพลง เข้าใจตรงกัน นอกเหนือจากที่จะต้องร้องให้พร้อมเพรียงกันในแนวเสียงเดียวกัน เพื่อให้สื่อความหมายของเพลงได้อย่างสมบูรณ์

  48. นิรนาม พูดว่า:

    ด.ญ พนิดา เจนสาม ม.1/2 เลขที่45
    หลักการขับร้องเพลงประสานเสียง
    1. ต้องศึกษาและเข้าใจอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียง
    2.ต้องศึกษาและเข้าใจอวัยวะภายในที่ทำงานประสานกันเพื่อฝึกอวัยวะทุกส่วนเพื่อเสียงที่ไพเราะ
    3.ศึกษาให้เข้าใจเกี่ยวกับอวัยวะที่ใช้ในการสร้างเสียงสะท้อน
    4.ฝึกการหายใจ ฝึกท่าทางในการยืน ฝึกออกเสียง การปั้นรูปปาก การใส่อารมณ์เพลง
    ประโยชน์
    1. ได้ฝึกทักษะการทำงานเป็นทีม
    2.เพื่อเป็นการฝึกฝนตนเองในการร้องเพลง
    3.เพื่อฝึกทักษะในด้านดนตรี
    4.เพื่อให้เกิดความชำนาญในการร้องเพลงประสานเสียงมากยิ่งขึ้น

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.